×
หน้าแรก
ข้อมูลสมาคม สธท.
ข้อมูลสมาคม สธท.
นายกสมาคม สธท.
คณะกรรมการ สธท.
ผู้ทรงคุณวุมิและผู้เชี่ยวชาญกิติมศักดิ์ สธท.
สมาชิกสมาคม สธท.
ประกาศสมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
สรุปการประชุม สธท.
สรุปรายงานการเงิน สธท.
ผู้สนับสนุน
ข่าวสาร
ข่าวสาร สธท.
ข่าวสารที่น่าสนใจ
บทความวิชาการที่น่าสนใจ
สื่อมัลติมีเดีย
วิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคุมฯ
ประกาศรับสมัครงาน
รับสมัครงานเข้าร่วมโครงการศึกษาทางธรณีวิทยา
บทความทางวิชาการ
ธรณีวิทยาประเทศไทย
ธรณีสัณฐาน และบรรพชีวิน
น้ำบาดาลและอุทกธรณี
ธรณีวิทยาปิโตรเลียม
ธรณีพิบัติภัย
วิศวกรรมธรณี
แร่และอัญมณี
กิจกรรมของสมาคม
คำศัพท์ธรณีวิทยา
ธรณีมีคำตอบ
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
Facebook สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
อุทยานธรณ๊ ผาชัน สามพันโบก
GEOSEA 2024
สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย
>
บทความทางวิชาการ
>
ธรณีวิทยาปิโตรเลียม
ธรณีวิทยาปิโตรเลียม
รอยตีนทวดไดโนเสาร์ (2) ตอน กิ้งก่าพืชผู้น่าสงสาร
หน้าผารอยตีนสัตว์โบราณที่อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์นั้น มีวิวัฒนาการของการเรียกชื่อที่เปลี่ยนไปกับความเชื่อ ความคาดหวัง และข้อเท็จจริง เริ่มต้นจากตรรกที่ว่า ใครต่อใครในโลกนี้ต่างก็ชื่นชอบไดโนเสาร์ เมื่อพบซากกระดูก หรือร่องรอยที่แปลกตาฝังหรือประทับอยู่กับชั้นหิน คนทั่วไปก็คาดหมายว่า นี่คือสิ่งที่หลงเหลือจากไดโนเสาร์ ดังนั้น รอยตีนสัตว์ที่พบบนหน้าผาหิน ใกล้กับลำน้ำเชิญ ในป่าอุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จึงถูกเรียกขานกันว่า “ผารอยตีนไดโนเสาร์”
รอยตีนทวดไดโนเสาร์ (1)
เมื่อกว่าสิบปีมาแล้ว มีข่าวพาดหน้าหนึ่งหนังสือพิมพ์รายวันของไทยว่า พบรอยเท้าไดโนเสาร์ที่อำเภอน้ำหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้ที่เดินทางผ่านไปมาตามถนนหมายเลข 2216 จะพบว่าที่หน้าโรงพยาบาลน้ำหนาว มีป้ายชี้ทางไปทิศใต้ของถนนว่า “รอยเท้าไดโนเสาร์ 3 กิโลเมตร”
ว่าด้วยภูทอก ตั้งแต่ก่อนทอก จนถึงหลังทอก โดย นเรศ สัตยารักษ์
ว่าด้วยภูทอก ตั้งแต่ก่อนทอก จนถึงหลังทอก โดย นเรศ สัตยารักษ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ชมรมศิษย์เก่า ธรณี มช.
พื้นที่บริเวณด้านตะวันออกเฉียงเหนืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยนั้น ....
Follow us!
COPYRIGHT © สมาคมธรณีวิทยาแห่งประเทศไทย. ALL RIGHTS RESERVED